EFFECTS OF THE 12 WEEK TREADMILL TRAINING WITH WHOLE BODY VIBRATION ON BONE MARKERS IN THAI POSTMENOPAUSAL WOMEN

dc.contributor.authorWisaneeya SIWAPITUKen_US
dc.contributor.authorWasuwat KITISOMPRAYOONKULen_US
dc.date.accessioned2011-02-21T07:02:42Z
dc.date.available2011-02-21T07:02:42Z
dc.date.created2011-01-25en_US
dc.date.issued2011-01-25en_US
dc.description.abstractABSTRACT\ The objective of this study was to determine the effects of the 12 week treadmill training with whole body vibration on bone markers in Thai postmenopausal women. Forty-six healthy postmenopausal women were enrolled. They were randomized into 2 groups by computerized-generated program. The first group was a treadmill training group (TM). Another group was a treadmill group with whole body vibration (TM + WBV). \ The TM group walked in treadmill with moderate intensity, 30 min/day, 3 days a week, for 12 weeks. \ The TM + WBV group did the same thing as the TM group.\  After that they exercised in the squat position with 20o knee flexion on reciprocating vertical displacement machine (30 Hz, amplitude 4 mm., 1-minute bouts of vibration separated by 1-minute resting period, total 20 minutes). Biochemical bone markers (\β-CrossLabs, PINP, NMID- Osteocalcin), single leg stance with opened eyes, walking speed and physical performances (chair stand, step test and sit and reach test) were measured before and after 12 week training. Forty-three (21 of TM and 22 of TM + WBV) completed the study. Bone resorption and formation markers were significantly increased in both groups after training (p \< 0.05).\  Balance and walking speed were increased in the TM group but decreased in the TM + WBV group. Bone markers, single leg stance with opened eyes, walking speed and physical performance were not significantly different between the TM and TM + WBV groups (ANCOVA, p \> 0.05).\ (J. Sports Sci. Technol 2010; 10 (1): 217\–230)\ Keywords: \  Postmenopausal, Osteoporosis, Biochemical marker, Whole body vibration, Treadmill training บทคัดย่อ\ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการออกกำลังกายบนลู่วิ่งสายพานร่วมกับการออกกำลังกายแบบสั่นเป็นเวลา 12 สัปดาห์ต่อการสร้างและการสลายกระดูก ในผู้หญิงไทยวัยหมดประจำเดือน ผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนสุขภาพดี จำนวน 46 คน ถูกสุ่มเป็น 2 กลุ่ม ๆละ 23 คนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 1 ออกกำลังกายโดยเดินบนลู่วิ่งสายพานนาน 30 นาที ที่ความหนักปานกลาง กลุ่มที่ 2 เดินบนลู่วิ่งสายพานนาน 30 นาที ร่วมกับการออกกำลังกายแบบสั่นต่ออีก 20 นาที (ยืนงอเข่า 20 องศาบนเครื่องสั่น ที่ความถี่ 30 เฮิรตซ์ ช่วงแอมปลิจูด 4 มิลลิเมตร ให้ยืนออกกำลัง 1 นาทีสลับพัก 1 นาที) ทั้ง 2 กลุ่ม ฝึก 3 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการตรวจค่าการสร้างและการสลายกระดูก (Biochemical bone markers) ได้แก่ Telopeptide crosslinked (\β-CrossLabs), N-terminal propeptine of procollagen type I (PINP) และ NMID-Osteocalcin ทดสอบการทรงตัวและความเร็วในการเดิน และทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดยทดสอบก่อนและหลังฝึกครบ 12 สัปดาห์ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 43 คน (กลุ่มที่หนึ่ง 21 คน, กลุ่มที่สอง 22 คน) เข้าร่วมการศึกษาครบ 12 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มที่ออกกำลังกายบนลู่วิ่งสายพานเพียงอย่างเดียวและกลุ่มที่ออกกำลังกายบนลู่วิ่งสายพานร่วมกับการออกกำลังกายแบบสั่นมีการสร้างและการสลายกระดูกเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้ง 2 กลุ่ม (p \< 0.05) หลังการฝึกครบ 12 สัปดาห์ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม โดยใช้ ANCOVA พบว่า ค่าของการสร้างและการสลายกระดูก ค่าการทรงตัว ความเร็วในการเดินและสมรรถภาพของร่างกายไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p \> 0.05) \ (J. Sports Sci. Technol 2010; 10 (1): 217\–230)\ คำสำคัญ:\  \ \ \  วัยหมดประจำเดือน, โรคกระดูกพรุน, การวัดการสร้างและสลายกระดูก, การออกกำลังกายแบบสั่น, การออกกำลังกายบนลู่สายพานen_US
dc.identifier.citationJournal of Sports Science and Technology; Vol 10, No 1 July 2010; 217-230en_US
dc.identifier.urihttps://imsear.searo.who.int/handle/123456789/131214
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherJournal of Sports Science and Technologyen_US
dc.rightsSports Science Society of Thailand, Mahidol University, Bangkok, Thailanden_US
dc.source.urihttps://thailand.digitaljournals.org/index.php/JSSTMU/issue/archiveen_US
dc.source.urihttps://thailand.digitaljournals.org/index.php/JSSTMU/article/view/5008en_US
dc.titleEFFECTS OF THE 12 WEEK TREADMILL TRAINING WITH WHOLE BODY VIBRATION ON BONE MARKERS IN THAI POSTMENOPAUSAL WOMENen_US
dc.typeบทความวิจัย (Orginal Article)en_US
Files