THE EFFECTS OF THERAPEUTIC ULTRASOUND AND STATIC STRETCHING ON PAIN LEVELS OF UPPER TRAPEZIUS AND RANGE OF MOTION IN NECK LATERAL FLEXION IN TENNIS PLAYERS.

No Thumbnail Available
Date
2011-01-25
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
Publisher
Journal of Sports Science and Technology
Abstract
Abstract\ The purpose of this study was to examine the effects of the therapeutic ultrasound and static stretching on pain levels of upper trapezius muscles and the range of motion in neck lateral flexion in tennis players. Thirty female tennis players aged 25-40 years were participants of this study, diagnosed to myofacial trigger point in upper trapezius muscles by a medical doctor.\  They were from Ayuttaya Stadium, Ayutttaya Province, Thailand. They were randomly assigned into three treatments.\  \ Group I (n=10) with therapeutic ultrasound and hot pack, static stretching and hot pack in Group II (n=10) with sham ultrasound and hot pack in Group III (n=10) with assessment of pain levels by pain pressure algometer on upper trapezius muscles and assessment of neck rang of motion by goniometer before and after the 10 day treatment phase.The results of this study showed that after the 10 day treatment phase in pain levels of participants in Group I and Group II were significantly lower than those of participants in Groups III. The results of range of motion in neck lateral flexion of participants in Groups I and Group II were significantly higher than participants in Group III. Although, the data of pain levels and range of motion in neck lateral flexion of participants in Groups I were significantly better than those of participants in Group II.In conclusion, the findings of this study suggested that therapeutic ultrasound and static stretching can improve recovery of pain levels of upper trapezius muscles and range of motion in neck lateral flexion in tennis players. However, the therapeutic ultrasound treatment showed a better recovery of the above parameters than the static stretching treatment.\ (J. Sports Sci. Technol 2010; 10 (1): 231\–243)\ Keywords: myofacial pain syndrome ,ultrasound static stretching, trapezius\ \ บทคัดย่อ\ \ \ \ \ \ \ \ \  \ \ \ \ \ \  วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยครั้งนี้ต้องการตรวจสอบผลการรักษาด้วยอัลตร้าซาวด์และการยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่ต่อระดับอาการปวดของกล้ามเนื้อบ่าและองศาการเคลื่อนไหวในท่าเอียงคอในผู้เล่นกีฬาเทนนิส กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นผู้เล่นกีฬาเทนนิสเพศหญิง จำนวน 30 ราย ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อบ่า มีจุดกดเจ็บในบริเวณกล้ามเนื้อบ่าโดยแพทย์ และมีอายุระหว่าง 25-40 ปี จากสนามกีฬาจังหวัดอยุธยา จังหวัดอยุธยา ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจะได้รับการสุ่มเพื่อจัดเข้ากลุ่มให้ได้รับการรักษา 3 รูปแบบ ดังนี้ รักษาด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์และแผ่นประคบร้อนในกลุ่มที่ 1 (n=10) การยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่และแผ่นประคบร้อนในกลุ่มที่ 2 (n=10) รักษาด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์โดยไม่เปิดเครื่องในกลุ่มที่ 3 (n=10) ทำการประเมินระดับอาการปวดด้วยเครื่องมือวัดจุดปวดด้วยแรงกดที่มีต่อกล้ามเนื้อบ่าและองศาการเคลื่อนไหวของคอในท่าเอียงคอทำการประเมินด้วยเครื่องมือวัดองศาการเคลื่อนไหวในช่วงก่อนและหลังระยะเวลาการรักษา 10 วัน\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \  ผลของการศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่าหลังระยะเวลาการรักษา 10 วันในระดับอาการปวดของกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางด้านสถิติลดลงมากกว่ากลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่ 3 ข้อมูลขององศาการเคลื่อนไหวในท่าเอียงคอของกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางด้านสถิติสูงขึ้นกว่ากลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่ 3 ถึงแม้ว่าข้อมูลของระดับอาการปวดและองศาการเคลื่อนไหวในท่าเอียงคอของกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่ 1 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางด้านสถิติดีกว่ากลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่ 2\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \  \ ในการสรุปข้อค้นพบของการศึกษาวิจัยครั้งนี้เสนอแนะเกี่ยวกับผลการรักษาด้วยอัลตร้าซาวด์และการยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่สามารถรักษาระดับอาการปวดของกล้ามเนื้อบ่าและองศาการเคลื่อนไหวในท่าเอียงคอในผู้เล่นกีฬาเทนนิส อย่างไรก็ตามผลการรักษาด้วยอัลตร้าซาวด์แสดงให้เห็นว่าสามารถรักษาระดับอาการปวดของกล้ามเนื้อบ่าและองศาการเคลื่อนไหวในท่าเอียงคอในผู้เล่นกีฬาเทนนิสได้ดีกว่าการยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่\ (J. Sports Sci. Technol 2010; 10 (1): 231\–243)\ คำสำคัญ:\ \ \  อาการโรคปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด, การยืดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่กล้ามเนื้อบ่า, อัลตร้าซาวด์ทางกายภาพบำบัด\ 
Description
Keywords
Citation
Journal of Sports Science and Technology; Vol 10, No 1 July 2010; 231-244